ขนาดภาพ 8 ชนิด ที่ช่างภาพต้องรู้ (shot size)

วันนี้เดี๋ยวเราจะพาไปดูว่าขนาดภาพที่เรานิยมใช้กันเนี่ย แล้วก็ใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายมีอะไรบ้างไปดูเลยครับ

อีกหนึ่ง Basic เลยครับสำหรับการถ่ายภาพและการถ่ายวีดีโอที่เราควรรู้ นั่นคือเรื่องของขนาดภาพ อย่างที่ทุกคนเคยถ่ายภาพหรือวีดีโอ บางทีเราอาจจะแค่ยกโทรศัพท์หรือกล้องขึ้นมาแล้วก็เล็งเฟรมไป แล้วก็กดบันทึกในสิ่งที่ชอบ แต่เดี๋ยวเรากลับมาดู Basic กันก่อนว่าขนาดภาพจริงๆแล้วเนี่ยเขาคืออะไร หมายถึงถึงอะไร

ขนาดภาพคือการกำหนดขอบเขตของเฟรมภาพ ให้ได้ระยะที่ต่างกัน ซึ่งแต่ละขนาดภาพเนี่ย จะทำหน้าที่ในการสื่อ สารสื่อความหมา ยสื่ออารมณ์แตกต่างกัน เช่นกัน อย่างที่เราเวลาเราเคยดูหนังที่เราผ่านตาปกติเนี่ย เวลา cutting มันถูกตัดไปเนี่ย เราจะเห็นได้ว่าภาพที่มีการเปลี่ยนไซส์เปลี่ยนช็อตไปเรื่อยๆ อันนี้เป็น basic ในการทำวีดีโอ ทำหนังโฆษณามากๆเลย เดี๋ยวนี้วันเราจะพาไปดูทั้ง 8 ตัวอย่างที่เรานำมาพูดคุยกันวันนี้ว่ามีอะไรบ้าง

เริ่มกันที่ขนาดภาพแรกนั่นคือขนาดภาพ extreme longshot นั่นเอง extreme longshot เนี่ยเป็นเฟรมภาพที่ไกลมาก แล้วก็ให้ความรู้สึกว่ากว้างมาก ซึ่งเราจะเห็นตามหนังที่จะถูกนิยมใช้มาเป็นช็อตเปิด เพื่อให้เห็นบรรยากาศโดยรอบทั้งหมดของหนัง หรือว่าเหตุการณ์นั้นเนี่ยกำลังเกิดอะไรขึ้นอยู่ ผมขอยกตัวอย่างจาก The Walking Dead ล่าสุดนี้เป็น shot ที่ตัวเอกของเรื่องเนี่ยกำลังขี่ม้าเข้าไปในเมืองที่ร้าง มันก็จะทำให้เห็นว่าบรรยากาศแถวนั้นเนี่ยเป็นยังไง มันรู้สึกร้าง มันรู้สึกว่างเปล่า รู้สึกเคว้งคว้างหรือว่ายังไง ซึ่งอันนี้คือการทำงานของขนาดภาพ extreme longshot ตัว object ที่ประกอบอยู่ใน extreme longshot เนี่ยจะมีขนาดประมาณ 5 ถึง 15 เปอร์เซ็นต์ของเฟรมนั่นเอง เพราะว่าช็อตแบบนี้จะถูกถ่ายเพื่อให้รู้สึกว่า กว้าง และไกลมากในการนำมาใช้ ซึ่ง extreme longshot ที่ผมบอกไปว่ามันถูกนำมาใช้เป็น shot เปิดใช่ไหมครับ เวลาเราจะเล่าช็อตต่อไปเนี่ย พอเราเข้าแคบไปเนี่ย คนดูจะยังรู้สึกได้ว่าตอนนี้เราอยู่ที่ไหน เป็นบรรยากาศยังไง มันจะทำให้เกิดความต่อเนื่องของอารมณ์ ในสิ่งที่เรากำลังตัดแล้วส่งให้คนอื่นดูครับ

มาที่ขนาดต่อไป นั่นคือ longshot longshot จะเป็นการถ่ายภาพระยะไกล จะทำให้เราและเห็นเลยตั้งแต่ระยะหัวไปจนถึงเท้า ก็คือเห็นทั้งตัวนั้นเองครับ แต่ระยะนี้เนี่ยจะมีความแคบกว่าและใกล้กว่า extreme longshot โดยประโยชน์ของมันในขณะภาพ size นี้เนี่ยจะทำให้เราและเห็นความเคลื่อนไหวมากกว่า เราจะไม่ค่อยเห็นอารมณ์และความรู้สึกของตัวละครหลักมาก

ถัดไปไปเป็น full shot การถ่ายแบบ full shot ถ่ายตั้งแต่หัวจนถึงเท้า ตามชื่อเลยครับคือการถ่ายแบบเต็มเฟรม จะต่างจาก longshot ตรงที่ว่าเราถ่ายคนแบบเห็นเต็มตัว object แบบเห็นเต็มตัว แต่ยังเป็นระยะที่ไกลอยู่ แต่ full shot เนี่ยมันเป็นการถ่ายหัวจรดเท้า ซึ่งเฟรมภาพแบบ full shot จะทำให้เราเริ่มที่จะเห็นอารมณ์แล้วก็ความรู้สึกของนักแสดงได้มากขึ้น แต่ก็ยังมีบรรยากาศรอบๆอยู่ รวมไปถึงการเคลื่อนไหวท่าทางต่างๆของนักแสดง เพราะว่าอย่างที่บอกครับพอ object หรือคนที่เราถูกถ่ายเนี่ยเต็มเฟรมอยู่ ทำให้เราเนี่ยมองเห็นสิ่งต่างๆ รายละเอียดต่างๆ ของแอคชั่นหรือ ของนักแสดงได้ง่ายขึ้นครับ

ต่อไปนั่นคือ medium longshot medium longshot คือขนาดภาพที่แคบลงมากว่า full shot ขนาดภาพของ medium longshot มีตั้งแต่หัวไปจนถึงหัวเข่า หรือว่าขานั้นเองครับ ซึ่งการถ่าย medium longshot ข้อควรระวังก็คือ เราต้องระวังนะให้เราไปหั่นตรงข้อหัวเข่า ไม่งั้นเนี่ยเฟรมภาพของเราเนี่ยจะทำให้เกิดความรู้สึกว่าแปลก ที่เห็นว่าคนเนี่ยถูกหั่นหัวเข่าอยู่ โดยการใช้ medium longshot อีกอย่างนะที่นิยมถูกนำมาใช้ ก็คือช็อตที่มีการสนทนาของตัวละคร อาจจะนำไปใช้เป็น master shot ในการพูดคุยก็ได้ครับ มันจะทำให้เราเนี่ยเห็นตัวนักแสดงตั้งแต่ 1 คน 2 คนหรือมากกว่า 2 คนขึ้นไปในเฟรมเดียวได้เลย

ต่อไปคือ medium shot เฟรมภาพขนาด medium shot เนี่ยมีขนาดตั้งแต่หัวไปจนถึงเอว หรือเรียกง่ายๆว่าถ่ายครึ่งตัวเอง medium shot เนี่ยจะถูกนำมาใช้อย่างมากในงานวิดีโอสัมภาษณ์ทั่วไปตามที่เราเห็นกัน เพราะว่าการใช้ไซส์ภาพช็อตนี้จะทำให้เราเนี่ย เห็นสีหน้าท่าทางต่างๆเวลาที่นักแสดงเขาพูด หรือเขาสื่อสารกัน

ลำดับต่อไปขนาดภาพที่เราจะพูดถึง medium close-up shot เนี่ยคือไซส์ภาพขนาดที่แคบลงมากว่า medium shot ภาพขนาดนี้จะมีขนาดประมาณตั้งแต่หัว ไปจนถึงช่วงไหล่ ซึ่งจะถูกนิยมนำไปใช้ในช่วงที่มีการต่อบท ไดอะล็อก การพูดคุยหรือช็อตที่ต้องการให้เน้นถึงสีหน้าอารมณ์ แล้วก็ acting ของนักแสดงว่าตัวละครมากขึ้น ข้อควรระวังอย่างหนึ่งในการถ่าย medium close-up shot ก็คือการเหลือ headroom ที่พอเหมาะกับ แล้วก็ระวังเรื่องการวางเฟรมที่มันจะไปหั่นตามข้อต่างๆไม่ว่าจะเป็นข้อแขน หรือว่าตรงไหล่ มันจะทำให้เฟรมยังรู้สึกแปลกไป ประโยชน์อีกอย่างหนึ่งของการใช้ medium close-up shot สมมุติว่าผมต้องการถ่ายบทสนทนาของนักแสดงครับที่กำลังคุยกันอยู่สองคน มีกล้อง A กับกล้อง B ใช่ไหมครับ กล้อง A จะถูกนำไปใช้ในการถ่าย master shot ของซีนนี้ แล้วกล้อง B เนี่ยเราจะใช้ medium close-up shot ในการเก็บการพูด เก็บท่าทางสีหน้าต่างๆ แล้วเวลาเรานำมาใช้ตัดต่อกันเนี่ย มันจะทำให้คนดูรู้สึกเข้าใจได้ง่ายมากขึ้นครับ

ต่อไปเป็นขนาดภาพแบบ close-up shot เป็นภาพถ่ายระยะใกล้ ขยายให้เห็นรายละเอียดหรือว่าตัวเนื้อหาของสิ่งที่เรากำลังจะถ่ายอยู่ สื่อสารออกไปให้คุณดูได้รับรู้ ขนาดภาพ close-up shot ถ้าถ่ายตัวละครและนักแสดงและจะมีขนาดประมาณหน้าผาก จนถึงคางหรือคอ เพื่อให้เห็นอารมณ์ได้ชัดเจนยิ่งกว่านะ เพราะว่าภาพเนี่ยเขาจะแคบกว่า medium close-up shot เข้ามาอีก บางทีนำมาใช้เป็น insert ให้เน้นความสำคัญมากขึ้นว่า สิ่งต่อไปที่กำลังจะเกิดขึ้น มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง เดี๋ยวเราจะยกตัวอย่างให้ดู เราจะเห็นได้ว่าตัวแอปนี้มี smart controller รายการที่กดปุ๊บ แล้วห้องเนี่ยสามารถเปิดปิดไฟได้เลย การทำงานของ close-up shot มันจะทำให้เราเห็นว่าสิ่งที่เกิดขึ้นการทำอะไร แล้วช็อตต่อไปเนี่ยส่งผลยังไง ประมาณนี้ เมื่อกี้พูดถึงเรื่องมือถือไปแล้วเดี๋ยวผมจะขอยกตัวอย่างช็อตที่มีมือถือแล้วกันในการถ่ายช็อตขนาด CU เราจะเห็นได้ว่ามือถือเนี่ยมันจะมี line แจ้งเตือนขึ้นมา พอนักแสดงหลักเห็นแล้วว่า line แจ้งเตือนเกี่ยวกับเจ้านายเข้ามา ช็อตต่อไปเขาก็จะมีมีความวุ่นวายเกิดขึ้นในสิ่งที่ช็อตแรกได้ทำไว้ เนี่ยครับคือการทำงานของ close-up shot ที่ผมบอกว่า เขาเนี่ยจะส่งผลต่อช็อตถัดๆไปโดยการเน้นให้เห็นรายละเอียด ให้เห็นความสัมพันธ์ของช็อตนั้นๆ ครับผม

และขนาดต่อไปนั่นคือ extreme close-up shot เป็นขนาดภาพที่ถ่ายในระยะใกล้มากๆ จะเห็นรายละเอียดของสิ่งที่เราต้องการจะถ่ายเนี่ยในระยะที่แคบมากๆเลย หรือแม้กระทั่งการถ่ายกิจกรรมอื่นๆ อย่างเช่นการกรีดกระดาษ การเขียนหัวปากกา หากเป็นการถ่ายแบบนี้กับคน หรือว่าใบหน้ าเราก็จะเน้นไปที่ตา ปาก และนิ้วอะไรก็ได้ มันจะทำให้เราเนี่ยเห็นรายละเอียดเห็นถึง detail ต่างๆ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้นมากๆ ซึ่งนอกจากขนาดภาพทั้ง 8 ขนาดภาพที่ผมได้ยกตัวอย่างไปแล้ว ก็อยากให้มือใหม่ หรือว่าทุกคนเนี่ย ลองนำไปปรับใช้ดู ในการเล่าเรื่องของคุณให้มันน่าสนใจมากขึ้น นำขนาดภาพต่างๆออกมาแตก shot ออกมา เราก็จะได้มุมภาพที่ต่างกันไปมากขึ้น ลองดูจากงานโฆษณา หรือว่าตัวอย่างหนังที่เราชื่นชอบก็ได้ สังเกตว่าเขาเนี่ยมีวิธีในการเล่าการเลือกใช้ช็อตอย่างไร แล้วมันให้การสื่อสาร ให้อารมณ์แตกต่างกันยังไง

ก็หวังว่าคลิปนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้เริ่มต้น หรือว่าผู้ที่ต้องการรู้ basic อย่าลืมกดไลค์ กดแชร์ และกด subscribe กดกระดิ่งด้วย พอเรามีคลิปใหม่ๆมาอัพเดทก็จะได้ดูก่อนใคร แล้วก็เรามีคลิปเก่าอื่นๆ อยู่ใน channel ด้วย ฝากติดตามด้วยครับ

หากผู้ชมคนใดสนใจ สามารถดูวิดีโอได้ที่ Youtube:https://youtu.be/k3ehbzrjIt4

 ➢   Apple เปิดตัว iPad Pro ตัวใหม่ เหมาะกับใครบ้าง?

 ➢   เทคนิคการถ่ายวิดีโอด้วยโทรศัพท์มือถือ

 ➢   4 องค์ประกอบ ของโฆษณาที่ดี

 ➢   จัดไป! 4 สเต็ปกระชากใจให้คนอยากรับชมวิดีโอเพิ่มขึ้น

 ➢   อุปกรณ์เสริมสำหรับตากล้องที่ใช้ iPhone

 ➢   Color grade และ Color correct คืออะไร?

 ➢   เทคนิคการใช้ไมค์บูม (boom mic)

 ➢   หน้าที่ของผู้กำกับ มีอะไรบ้าง?

 ➢   ประวัติความเป็นมาของกล้องถ่ายรูป ในแต่ละสมัย

 ➢   วิธีถ่ายวีดีโอ Company Profile ให้ดูโปรฯ

 ➢   ตำแหน่ง และหน้าที่ต่างๆ ภายในกองถ่ายโฆษณา

 ➢   ขั้นตอนการหาโลเคชั่น ถ่ายทำงานโฆษณา (Location Scout)

 ➢   4 คุณสมบัติของการโฆษณาที่ดี มีอะไรบ้าง?

 ➢   ควรจ้างนักตัดต่อมืออาชีพ มาทำงานโฆษณาของเราไหม?

 ➢   ลองใช้ iPhone ถ่ายโฆษณาโปรดักส์

 ➢   เทคนิคการถ่ายวิดิโอ Handheld ในงานโฆษณา

 ➢   พื้นฐาน Cuts & Transitions

 ➢   เบื้องหลังการใช้ iPhone 12 Pro Max ถ่ายโฆษณา

 ➢   ขนาดภาพ 8 ชนิด ที่ช่างภาพต้องรู้ (shot size)

 ➢   ฉีกกฎ 180องศา (180 Degree Rule)

 ➢   ขั้นตอนการทำ STORYBOARD ในงานโฆษณา

 ➢   5 เทคนิคการใช้ B-Roll ในงานโฆษณา

 ➢   6 มุมกล้องถ่ายโฆษณา

 ➢   การใช้ Tripod ในงานโฆษณา

 ➢   การหาเพลงให้งานโฆษณา (Music Background)

 ➢   ลองถ่ายโฆษณา Cup Cake แบบเก๋ ๆ

 ➢   วิธีทำ DOWNSIZE EFFECT ใน Premiere Pro

 ➢   Ratio ต่างๆ สำหรับงานโฆษณาสินค้า

 ➢   รีวิวโฆษณา “เบาเบาป่ะละ” เบาจริง หรือเบาหลอก ต้องดู

 ➢   ใช้ SPEED RAMP มาทำคลิปให้เจ๋ง

 ➢   ใช้ Mesh Warp Effect กับงานโฆษณา

 ➢   ถ่าย pizza ยังไงให้เหมือนโฆษณา?

 ➢   ถ่ายมาม่ายังไง ให้เหมือนในโฆษณา?

 ➢   ลองใช้ Stop Motion ในงานโฆษณาดูเก๋

 ➢   เทคนิคสร้างซีนหนังสยองขวัญให้งานโฆษณา

 ➢   เผยเทคนิคงานโฆษณา หยิบสินค้าออกจากคอมฯ

 ➢   ถ่ายโฆษณางานแนว Sport โดยใช้ ‘Locked–on Stabilization Effect’

 ➢   ทำโฆษณา ซีนตำรวจบุกบ้าน แบบง่ายๆ

 ➢   WHIP PAN TRANSITION ในงานโฆษณา

 ➢   ถ่ายโฆษณา ซีนป่าดงดิบ ในสตูดิโอ

 ➢   ถ่ายวีดีโอซีนขับรถโดยใช้ GREEN SCREEN แบบง่ายๆ

 ➢   เทคนิค LONG TAKE แบบหนังเรื่อง 1917 ถ่ายทำยากมากกกก

 ➢   TRANSITION สวยๆ ทำให้คลิปดู CHIC

 ➢   เทคนิค FREEZEFRAME EFFECT ทำยังไง?

 ➢   เทคนิคถ่ายโฆษณาอาหารให้ดูมืออาชีพ

 ➢   หนังเรื่อง TENET เค้าถ่ายกันยังไง?

 ➢   ใช้ PRISM สร้างความอลังการให้งานโฆษณาสินค้า

 ➢   ใช้ GREEN SCREEN เพื่อถ่ายสินค้าให้ดูเก๋

 ➢   ถ่ายโฆษณาเครื่องดื่มแบบง่ายๆ ทำได้ที่บ้าน

 ➢   VIDEO MARKETING TREND ในปี 2020

 ➢   ถ่ายวีดีโอโฆษณาสินค้าที่บ้าน ให้ดูโปรฯ

 ➢   ใช้สีและน้ำ เพื่อถ่ายโฆษณาสินค้าให้สวย

 ➢   ถ่ายซีนโรงพยาบาล COVID-19 ภายในออฟฟิศของเราเอง

 ➢   เรื่องของโฆษณาบน YOUTUBE ในปี 2020

 ➢   เทคนิคการใช้กล้อง MIRRORLESS ในการถ่ายวิดีโอ

 ➢   TIKTOK เปิดตัว TIKTOK FOR BUSINESS สำหรับนักการตลาด

 ➢   เบื้องหลังการถ่ายทำสินค้าใหม่ และความลับจากป่าอเมซอน

 ➢   เบื้องหลังการถ่ายทำวีดีโอ STOP MOTION

 ➢   เบื้องหลังถ่ายงาน คอนโดเปิดใหม่ ย่านเกษตรนวมินทร์

 ➢   เบื้องหลังถ่ายงาน EVENT กาล่าดินเนอร์

 ➢   เบื้องหลังถ่ายงานสัมภาษณ์แนว EMOTIONAL

 ➢   CLONING! เทคนิคการสร้างฝาแฝด ด้วยโปรแกรม Adobe Premier Pro

 ➢   TIPS สำหรับนักตัด! KEYBOARD SHORTCUTS – ปุ่มลัด ตัดงานไว

 ➢   STABILIZER ตัวช่วยที่ทำให้คุณกลายเป็นมืออาชีพ

 ➢   LIGHTING TIPS! จัดไฟยังไงให้ดูดีเหมือนมืออาชีพ

 ➢   ทำไม! ค่าทำวิดีโอโฆษณา แพงเกินเหตุ

 ➢   จัดไฟสตูดิโอ INDOOR ให้เหมือนถ่ายบ้านจริงๆ

 ➢   BEHIND THE SCENES – กับงานถ่ายทำหนังสั้น

 ➢   MULTICAM! การตัดต่อวีดีโอจากกล้องหลายตัวจะไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป

 ➢   PARALLAX! เทคนิคลับกับการทำให้ภาพนิ่ง ไม่นิ่งอีกต่อไป

 ➢   Magsafe Mounts จากแบรนด์ Moment

 ➢   DaVinci การอัปเดตเวอร์ชั่นที่ 17.2

 ➢   เตรียมตัวให้พร้อมสำหรับยุคของ augmented influencer

 ➢   Adobe Audition ปรับปรุงให้เข้ากับ Mac M1 แล้ว

 ➢   Sidus link App 1.6 พร้อมให้บริการแล้วสำหรับ iOS

 ➢   ประกาศรายชื่อผู้ชนะรับรางวัลสำหรับงาน Easterseals Disability Film Challenge ปี 2021

 ➢   ประกาศเปิดตัวสมาร์ทโฟน Sony Experia PRO 5G

 ➢   LUMIX ประกาศให้ Alicia Robbins, Emily Skye และ Carissa Dorson เป็น Brand Ambassadors

 ➢   นักสร้างภาพยนตร์ อายุ 18 ปี ชนะรางวัลในงาน WA Made Film Festival

 ➢   สมาร์ทโฟน Mi 11 เป็นอุปกรณ์ถ่ายทำสำหรับหนังสั้น BMW Shorties รุ่นที่ 15

 ➢   Retro Message แอปพลิเคชั่นส่งข้อความภาพแนวฟิล์มแบบขาวดำ

 ➢   ภาพยนตร์สยองขวัญ Don’t Peek ถ่ายด้วยกล้อง Pocket Cinema 4K

 ➢   Xiaomi: เปิดตัวแคมเปญการสร้างภาพยนตร์บนมือถือ “Night & Day”

 ➢   แค่โทรศัพท์มือถือ ก็สร้างหนังได้

 ➢   หนังสั้น La Inquilina ถูกโพสใน DaVinci Resolve Studio จากระยะไกล

 ➢   กล้อง Leica รุ่นต้นแบบจะถูกนำมาประมูลในเดือนมิถุนายน

 ➢   Canon Firmware Version 1.3.0: ตัวเลือกที่มากขึ้นของคนทำหนัง

 ➢   Academy Awards เปิดงาน Short Shorts Film Festival & Asia 2021

 ➢   Angel Manuel Soto ขึ้นแท่นกำกับ Transformer ภาคใหม่

 ➢   Nespresso จัดแข่งวิดีโอแนวตั้งใน TikTok

 ➢   หลักสูตร Adobe Creative Cloud ลดราคาถึง 98%

 ➢   เจ๋งสุด! DaVinci Resolve อัปเดตใหม่ รองรับ Mac M1

 ➢   สตีเว่น สปีลเบิร์ก ทำหนังเกี่ยวกับแม่ตัวเอง

 ➢   ผู้กำกับหลายคนเลือกใช้ Canon EOS C300 Mark II