ตำแหน่งและหน้าที่ต่างๆในกองถ่าย

ผู้กำกับ
คอยควบคุมฉากต่างๆและให้หนังเป็นไปสื่อออกมาต้องการ ถือเป็นตำแหน่งหลักในการทำหนัง

อาร์ตไดเรกเตอร์
คอยดูแลองค์ประกอบต่างๆในแต่ละฉากรวมถึงสถานที่ถ่ายทำ ส่วนใหญ่จะควบคุมงานอาร์ตและงานก่อสร้าง

ผู้ช่วยผู้กำกับ
ดูแลเรื่องสคริปต์และตัดสินใจเกี่ยวกับลำดับการถ่ายทำ ซึ่งมักจะเป็นผู้ที่คอยบริหารให้ออกมาตามที่คิดไว้

เจ้าหน้าที่ทั่วไป (best boy)
เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานเอกสาร (ตารางเวลา ฯลฯ ) ให้กับหัวหน้าฝ่ายเทคนิคด้านแสงและกล้องหรือฝ่ายจัดแสง (เป็นผู้ช่วยโดยเฉพาะ 2 ทีมนี้)

คนถือไมค์บูม
ทักษะพื้นฐานของคนถือไมค์บูม ผู้ที่คอยควบคุมเสียงและถือไมค์และต้องอยู่ในตำแหน่งที่ดีที่สุดเพื่อให้ได้เสียงที่ชัดที่สุดโดยไม่ให้ไมค์ติดเข้าไปในฉากนั้นๆด้วย

ช่างภาพ (ช่างภาพสำรอง)
จะอยู่ภายใต้คำสั่งของผู้กำกับใหญ่และผู้กำกับการถ่ายภาพมีหน้าที่ควบคุมกล้องในฉากต่างๆ

ช่างไม้ / ช่างประกอบฉาก
อยู่ภายใต้คำสั่งของ อาร์ตไดเรกเตอร์ซึ่งรับผิดชอบการสร้างฉากต่างๆ

ฝ่ายจัดหานักแสดง
คัดเลือกนักแสดงนำและตัวประกอบ ทำงานร่วมกับผู้กำกับและผู้อำนวยการสร้างในการหานักแสดงที่เหมาะสม

ผู้กำกับภาพ
ตากล้องผู้ทำหน้าที่บันทึกภาพ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวตามที่ผู้กำกับต้องการ, คอยดูแลเรื่องการจัดแสง, ช่วยสื่อสารอารมณ์ของภาพรวมถึงองค์ประกอบต่างๆ

ผู้ควบคุมความต่อเนื่อง / ผู้กำกับบท
คุณเคยสังเกตไหมว่าเมื่อเครื่องดื่มของนักแสดงบางคนหมดลงแต่ก็กลับมาเต็มอีกครั้งได้ พวกเขามีหน้าที่คอยเช็ครายละเอียดเล็กๆน้อยทั้งหมดเหล่านี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้น ซึ่งอาจจะเกิดจากการถ่ายฉากนั้นซ้ำๆ จนอาจจะทำให้น้ำที่ใช้หมดไปโดยไม่รู้ตัว

ผู้ที่ควบคุมอุปกรณ์ที่ประกอบราง
พวกเขาคอยจัดการเรื่องราง การทำ dolly ก็คือการถ่ายทำแบบเคลื่อนไหวบนราง

ฝ่ายจัดแสง
หัวหน้าช่างไฟผู้มีหน้าที่จัดไฟให้กับฉากอย่างเพียงพอพวกเขาอยู่ภายใต้การควบคุมของ DP

ฝ่ายเทคนิคด้านแสงและกล้อง
รับผิดชอบในการเคลื่อนย้ายและตั้งค่าอุปกรณ์และฉากต่างๆ

หัวหน้าฝ่ายเทคนิคด้านแสงและกล้อง
รับผิดชอบเรื่องแสงและกล้องทั้งหมด

ผู้ประสานงานระหว่างสตูดิโอกับผู้จัดการกองถ่าย/ ผู้จัดการสร้าง
ผู้บริหารที่ทำงานในวันธรรมดาที่คอยกำกับการผลิตหนังต่างๆ

ฝ่ายจัดการสถานที่
ผู้ที่จัดหาสถานที่ถ่ายทำเพื่อให้ทราบสถานที่ที่ดีที่สุดสำหรับการถ่ายทำที่ตรงกับความต้องการของบทหนังนั้นๆ

และโลเคชั่นถ่ายทำตามงบประมาณที่มีอีกด้วย

ผู้ทำเสียง
ผู้ทำเสียงประกอบฉากต่างๆ

ผู้ดูแลสวน
จัดการต้นไม้สำหรับฉากต่างๆ

ผู้อำนวยการสร้าง
มีหน้าที่หลากหลาย ไม่ว่าจะผู้ที่คอยรวมคนเข้าด้วยกัน ขอสิทธิ์ในการทำหนัง รวมถึงตั้งชื่อให้กับตัวละครและชื่อหนัง

หัวน้าแผนกที่จัดหาของมาประกอบฉาก
จัดหาอุปกรณ์ประกอบฉาก และดูแลไม่ให้เสียหาย

ทีมที่สองและผู้กำกับที่สอง
หน่วยที่สองคือทีมงานที่ถ่ายทำแบบผู้แสดงหลักไม่จำเป็นต้องเข้าฉาก ซึ่งมักจะเป็นภาพพื้นหลังและสถานที่

ผู้จัดฉาก / ผู้จัดชุด
ทำงานร่วมกับอาร์ตไดเรกเตอร์โดยรับผิดชอบจัดเตรียมสิ่งของที่เหมาะสมกับตัวหนัง เพื่อทำให้สถานที่และนักแสดงถ่ายทำดูเหมือนจริงที่สุด

ฝ่ายควบคุมระบบเสียง
ผู้ที่มีหน้าที่บันทึกเสียง.

เทคนิคพิเศษ
คุณอาจมีเทคนิคพิเศษต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับประเภทของหนังด้วย ซึ่งมักจะเป็นบริษัทภายนอกที่ได้รับการว่าจ้างให้ทำเอฟเฟกต์

แสตนด์ อิน
อาจใช้เวลาสักครู่เพื่อให้แสงและกล้องพร้อมถ่าย ในขณะตั้งค่าอยู่นั้น พวกเขาต้องการใครสักคนเพื่อเป็นจุดอ้างอิงสำหรับกล้องและไฟ บุคคลนี้จะยืนอยู่ในจุดที่นักแสดงหลักจะอยู่ในภายหลัง ซึ่งบุคคลนี้จะมีสีผิวและทรงผมคล้ายกับนักแสดงจริง

สตันท์แมน
จะแสดงแทนนักแสดงจริงบางฉากพวกเขาเป็นมืออาชีพที่ได้รับการฝึกฝนมาแล้วซึ่งจะทำงานที่มีความผาดโผนแทนนักแสดงทั่วไปพวกเขามักได้รับการฝึกฝนในการต่อสู้และรู้วิธีล้มและสวมเครื่องป้องกันเพื่อไม่ให้ได้รับการบาดเจ็บ

ฝ่ายตัดต่อ
ทำหน้าที่ตัดต่อหนัง คือการรวมขั้นตอนตั้งแต่การถ่ายวิดีโอ Footage ไปจนถึงขั้นตอนหลังการถ่ายทำเพื่อสร้างวิดีโอขึ้นมา 1 ไฟล์งาน ทีมงานตัดต่อมืออาชีพไม่ว่าจะทำงานให้กับบริษัทหรือรับงานเป็นฟรีแลนซ์ สามารถตัดต่อวิดีโอจาก Footage ที่ได้รับ ได้ตามที่คุณต้องการ เพราะพวกเขามีประสบการณ์ มีเทคนิคในการตัดงานหรือ KEYBOARD SHORTCUTSเพื่อช่วยในการตัดงานที่ไวขึ้น และโปรแกรมที่ช่วยในการตัดต่อนั่นเอง

นักแสดง
ชื่อเรียกอีกชื่อของนักแสดง

ผู้ฝึก/ผู้ฝึกสัตว์
ผู้ควบคุมสัตว์ในฉากต่างๆเช่นม้า หมา แมวหรือสัตว์ประเภทอื่นๆ

 

 ➢   ลองใช้ iPhone ถ่ายโฆษณาโปรดักส์

 ➢   เทคนิคการถ่ายวิดิโอ Handheld ในงานโฆษณา

 ➢   พื้นฐาน Cuts & Transitions

 ➢   เบื้องหลังการใช้ iPhone 12 Pro Max ถ่ายโฆษณา

 ➢   ขนาดภาพ 8 ชนิด ที่ช่างภาพต้องรู้ (shot size)

 ➢   ฉีกกฎ 180องศา (180 Degree Rule)

 ➢   ขั้นตอนการทำ STORYBOARD ในงานโฆษณา

 ➢   5 เทคนิคการใช้ B-Roll ในงานโฆษณา

 ➢   6 มุมกล้องถ่ายโฆษณา

 ➢   การใช้ Tripod ในงานโฆษณา

 ➢   การหาเพลงให้งานโฆษณา (Music Background)

 ➢   ลองถ่ายโฆษณา Cup Cake แบบเก๋ ๆ

 ➢   วิธีทำ DOWNSIZE EFFECT ใน Premiere Pro

 ➢   Ratio ต่างๆ สำหรับงานโฆษณาสินค้า

 ➢   รีวิวโฆษณา “เบาเบาป่ะละ” เบาจริง หรือเบาหลอก ต้องดู

 ➢   ใช้ SPEED RAMP มาทำคลิปให้เจ๋ง

 ➢   ใช้ Mesh Warp Effect กับงานโฆษณา

 ➢   ถ่าย pizza ยังไงให้เหมือนโฆษณา?

 ➢   ถ่ายมาม่ายังไง ให้เหมือนในโฆษณา?

 ➢   ลองใช้ Stop Motion ในงานโฆษณาดูเก๋

 ➢   เทคนิคสร้างซีนหนังสยองขวัญให้งานโฆษณา

 ➢   เผยเทคนิคงานโฆษณา หยิบสินค้าออกจากคอมฯ

 ➢   ถ่ายโฆษณางานแนว Sport โดยใช้ ‘Locked–on Stabilization Effect’

 ➢   ทำโฆษณา ซีนตำรวจบุกบ้าน แบบง่ายๆ

 ➢   WHIP PAN TRANSITION ในงานโฆษณา

 ➢   ถ่ายโฆษณา ซีนป่าดงดิบ ในสตูดิโอ

 ➢   ถ่ายวีดีโอซีนขับรถโดยใช้ GREEN SCREEN แบบง่ายๆ

 ➢   เทคนิค LONG TAKE แบบหนังเรื่อง 1917 ถ่ายทำยากมากกกก

 ➢   TRANSITION สวยๆ ทำให้คลิปดู CHIC

 ➢   เทคนิค FREEZEFRAME EFFECT ทำยังไง?

 ➢   เทคนิคถ่ายโฆษณาอาหารให้ดูมืออาชีพ

 ➢   หนังเรื่อง TENET เค้าถ่ายกันยังไง?

 ➢   ใช้ PRISM สร้างความอลังการให้งานโฆษณาสินค้า

 ➢   ใช้ GREEN SCREEN เพื่อถ่ายสินค้าให้ดูเก๋

 ➢   ถ่ายโฆษณาเครื่องดื่มแบบง่ายๆ ทำได้ที่บ้าน

 ➢   VIDEO MARKETING TREND ในปี 2020

 ➢   ถ่ายวีดีโอโฆษณาสินค้าที่บ้าน ให้ดูโปรฯ

 ➢   ใช้สีและน้ำ เพื่อถ่ายโฆษณาสินค้าให้สวย

 ➢   ถ่ายซีนโรงพยาบาล COVID-19 ภายในออฟฟิศของเราเอง

 ➢   เรื่องของโฆษณาบน YOUTUBE ในปี 2020

 ➢   เทคนิคการใช้กล้อง MIRRORLESS ในการถ่ายวิดีโอ

 ➢   TIKTOK เปิดตัว TIKTOK FOR BUSINESS สำหรับนักการตลาด

 ➢   เบื้องหลังการถ่ายทำสินค้าใหม่ และความลับจากป่าอเมซอน

 ➢   เบื้องหลังการถ่ายทำวีดีโอ STOP MOTION

 ➢   เบื้องหลังถ่ายงาน คอนโดเปิดใหม่ ย่านเกษตรนวมินทร์

 ➢   เบื้องหลังถ่ายงาน EVENT กาล่าดินเนอร์

 ➢   เบื้องหลังถ่ายงานสัมภาษณ์แนว EMOTIONAL

 ➢   CLONING! เทคนิคการสร้างฝาแฝด ด้วยโปรแกรม Adobe Premier Pro

 ➢   TIPS สำหรับนักตัด! KEYBOARD SHORTCUTS – ปุ่มลัด ตัดงานไว

 ➢   STABILIZER ตัวช่วยที่ทำให้คุณกลายเป็นมืออาชีพ

 ➢   LIGHTING TIPS! จัดไฟยังไงให้ดูดีเหมือนมืออาชีพ

 ➢   ทำไม! ค่าทำวิดีโอโฆษณา แพงเกินเหตุ

 ➢   จัดไฟสตูดิโอ INDOOR ให้เหมือนถ่ายบ้านจริงๆ

 ➢   BEHIND THE SCENES – กับงานถ่ายทำหนังสั้น

 ➢   MULTICAM! การตัดต่อวีดีโอจากกล้องหลายตัวจะไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป

 ➢   PARALLAX! เทคนิคลับกับการทำให้ภาพนิ่ง ไม่นิ่งอีกต่อไป

 ➢   Magsafe Mounts จากแบรนด์ Moment

 ➢   DaVinci การอัปเดตเวอร์ชั่นที่ 17.2

 ➢   เตรียมตัวให้พร้อมสำหรับยุคของ augmented influencer

 ➢   Adobe Audition ปรับปรุงให้เข้ากับ Mac M1 แล้ว

 ➢   Sidus link App 1.6 พร้อมให้บริการแล้วสำหรับ iOS

 ➢   ประกาศรายชื่อผู้ชนะรับรางวัลสำหรับงาน Easterseals Disability Film Challenge ปี 2021

 ➢   ประกาศเปิดตัวสมาร์ทโฟน Sony Experia PRO 5G

 ➢   LUMIX ประกาศให้ Alicia Robbins, Emily Skye และ Carissa Dorson เป็น Brand Ambassadors

 ➢   นักสร้างภาพยนตร์ อายุ 18 ปี ชนะรางวัลในงาน WA Made Film Festival

 ➢   สมาร์ทโฟน Mi 11 เป็นอุปกรณ์ถ่ายทำสำหรับหนังสั้น BMW Shorties รุ่นที่ 15

 ➢   Retro Message แอปพลิเคชั่นส่งข้อความภาพแนวฟิล์มแบบขาวดำ

 ➢   ภาพยนตร์สยองขวัญ Don’t Peek ถ่ายด้วยกล้อง Pocket Cinema 4K

 ➢   Xiaomi: เปิดตัวแคมเปญการสร้างภาพยนตร์บนมือถือ “Night & Day”

 ➢   แค่โทรศัพท์มือถือ ก็สร้างหนังได้

 ➢   หนังสั้น La Inquilina ถูกโพสใน DaVinci Resolve Studio จากระยะไกล

 ➢   กล้อง Leica รุ่นต้นแบบจะถูกนำมาประมูลในเดือนมิถุนายน

 ➢   Canon Firmware Version 1.3.0: ตัวเลือกที่มากขึ้นของคนทำหนัง

 ➢   Academy Awards เปิดงาน Short Shorts Film Festival & Asia 2021

 ➢   Angel Manuel Soto ขึ้นแท่นกำกับ Transformer ภาคใหม่

 ➢   Nespresso จัดแข่งวิดีโอแนวตั้งใน TikTok

 ➢   หลักสูตร Adobe Creative Cloud ลดราคาถึง 98%

 ➢   เจ๋งสุด! DaVinci Resolve อัปเดตใหม่ รองรับ Mac M1

 ➢   สตีเว่น สปีลเบิร์ก ทำหนังเกี่ยวกับแม่ตัวเอง

 ➢   ผู้กำกับหลายคนเลือกใช้ Canon EOS C300 Mark II